หน้า: 1

ชนิดกระทู้ ผู้เขียน กระทู้: Understanding the "ICC" Application: FAQ  (อ่าน 55 ครั้ง)
add
เรทกระทู้
« เมื่อ: 2 พ.ย. 12, 12:54 น »
ตอบโดยอ้างถึงข้อความ
Send E-mail

แบ่งปันกระทู้นี้ให้เพื่อนคุณอ่านไหมคะ?

ปิดปิด
 

November 1, 2012

Understanding the ICC Application: FAQ

Thailand’s Minister of Foreign Affairs, Surapong Tovichakchaikul is to meet with the chief prosecutor of the International Criminal Court (ICC), Fatou Bensouda, today to discuss the possibility of opening an investigation into the protests of April-May 2010.

Below are answers to frequently asked questions about the possibility of Thailand extending jurisdiction to the ICC.

Frequently Asked Questions:

Question: What is the ICC and why is the prosecutor in Thailand?

Answer: The ICC is located in The Hague. The ICC is established by a treaty known as the Rome Statute of the ICC. One hundred twenty-one countries have joined the treaty. Thailand has signed, but not ratified the Rome Statute. Thailand is therefore not a party to the treaty.

UDD lawyer Robert Amsterdam filed an application with the Prosecutor of the ICC on January 30 2011, requesting a preliminary investigation into the protests that occurred in Thailand between April-May 2010, where 98 civilians were killed and thousands injured.

The application alleges that crimes against humanity were committed against civilian protesters. Although the ICC has jurisdiction over genocide, war crimes and crimes against humanity, only crimes against humanity are alleged in the application relating to Thailand. There is no basis to allege genocide or war crimes.


Question: Since Thailand is not a party to the ICC treaty, how could the ICC investigate alleged crimes against humanity in Thailand?

Answer: In this case, the ICC’s jurisdiction can be established in two ways:

First, the ICC can exercise its jurisdiction ratione personae over Prime Minister Abhisit Vejjajiva, under Article 12. 2(b) of the Rome Statute, as he is a citizen of the United Kingdom, which is a state party to the ICC.

Second, Article 12.3 allows a State not party to the treaty, such as Thailand, to accept ICC jurisdiction over a particular situation on an ad hoc basis, by depositing a Declaration with the ICC. The Thai Government is currently considering whether to make a Declaration accepting ICC jurisdiction over the crimes against humanity allegedly committed in 2010.

Question: Would such a Declaration accuse anyone of committing a crime?

Answer: No. It would merely permit the ICC to consider whether crimes against humanity were committed by any person or by any party on or after January 1, 2010.

Question: Would such a Declaration turn over responsibility for investigating crimes against humanity to the ICC?

Answer: No. Thailand would continue to have primary responsibility to investigate and, if appropriate, to prosecute any crimes against humanity. The ICC could investigate or prosecute only if Thai authorities are unable or unwilling to do so.

Question: Then why accept ICC jurisdiction over the alleged crimes against humanity?

Answer: The Declaration would enable the ICC Prosecutor to open a Preliminary Examination. In such an Examination she could engage in a process of dialogue with Thai authorities over the progress of investigations and prosecutions in Thailand. If she concludes that justice is not being done in Thailand, she could act.

มีต่อ

noticeแจ้งลบความคิดเห็นนี้   บันทึกการเข้า

กระทู้ฮอตในรอบ 7 วัน

add
เรทกระทู้
« ตอบ #1 เมื่อ: 2 พ.ย. 12, 12:56 น »
ตอบโดยอ้างถึงข้อความ
 

Question: Could she then investigate and prosecute the alleged crimes against humanity?

Answer: She could open a full investigation only if two conditions are met.

First, she would have to notify Thailand of her intention to open a full investigation. Thailand would then have one month to respond. Thailand could choose to accept her investigation. Alternatively, Thailand could object and assert the right of Thai authorities to investigate the case instead. The ICC Prosecutor could not then open a full investigation, unless she obtains permission from three ICC judges. She would have to prove to them that the Thai investigation does not genuinely pursue justice. Thailand would have an opportunity to be heard before the three judges and to present its objection. If the judges ruled in favor of the ICC Prosecutor, Thailand could appeal to a panel of five ICC appeals judges.

Second, even if Thailand has no objection, the ICC Prosecutor could not open a full investigation unless she first obtained approval from a panel of three ICC judges. Without such approval, she could open only a Preliminary Examination.

In sum, a Government Declaration under Article 12.3 would merely open the door to a process of ongoing dialogue between Thailand and the ICC. It would be only a beginning, not an end.

Question: What is a Preliminary Examination?

Answer: A Preliminary Examination is a first step, designed to determine whether the ICC Prosecutor should ask the ICC judges for permission to open a full investigation. In a Preliminary Examination the ICC Prosecutor could consider the progress of investigations and prosecutions in Thailand. She could also conduct a limited inquiry into whether crimes against humanity were committed. A Preliminary Examination would not interfere with criminal investigations or prosecutions in Thailand. The Thai proceedings could go forward at the same time.

Question: If the Thai Government makes a Declaration accepting ICC jurisdiction, will the Prosecutor open a Preliminary Examination?

Answer: That will be her decision. However, if Thailand accepts ICC jurisdiction, we understand that she will open a Preliminary Examination into the crimes against humanity allegedly committed in 2010.

Question: What could the ICC Prosecutor do in a Preliminary Examination?

Answer: She could analyze information voluntarily sent to her. She could also seek additional information, on a voluntary basis, from the Thai Government or other governments, from the United Nations, and from non-governmental or inter-governmental organizations. In addition, she could receive testimony offered on a voluntary basis in The Hague. Based on all this information, she could determine whether there is a reasonable basis to open a full investigation.

Question: What could she not do in a Preliminary Examination?

Answer: In a Preliminary Examination, the ICC Prosecutor could not require the Thai Government to make witnesses available. Nor could she interview witnesses or conduct investigations in Thailand. If she believes those further steps are needed, she would have to notify Thailand and request permission from the ICC judges to open a full investigation, in the manner described above.

Question: How long could a Preliminary Examination take?

Answer: There is no precise time limit. It could take months. If the ICC Prosecutor decides to allow Thai criminal proceedings to run their course, it could take years.

Question: Is it possible that the ICC Prosecutor might never seek to open a full investigation?

Answer: Yes. If justice is genuinely pursued in Thailand, there will be no need for the ICC Prosecutor ever to open a full investigation.

Question: If she eventually opens a full investigation, and she concludes that someone committed a crime against humanity, can she bring criminal charges against that person?

Answer: No, not on her own. She would first have to obtain the approval of three ICC judges. Both the accused person and the Thai Government would have an opportunity to be heard and to object to any charges. If the three judges ruled against their objections, they could appeal to five ICC appeals judges.

Question: If the ICC judges allow the Prosecutor to bring charges, could she order the arrest of the person?

Answer: No. Only the ICC judges can order the arrest of an accused person.

Question: If the ICC judges issue an arrest warrant, would Thailand be required to arrest and turn over the accused person to the ICC?

Answer: Yes, subject to judicial approval. By making the Declaration accepting ICC jurisdiction over the alleged crimes against humanity, Thailand would agree to cooperate with the ICC. However, any arrested person would have the right to challenge the legality of his arrest, first before Thai courts, and then again, if he is transferred to The Hague, before the ICC judges.

มีต่อ

noticeแจ้งลบความคิดเห็นนี้   บันทึกการเข้า
add
เรทกระทู้
« ตอบ #2 เมื่อ: 2 พ.ย. 12, 13:03 น »
ตอบโดยอ้างถึงข้อความ
 

Question: Would a trial before the ICC be fair?

Answer: Yes. ICC judges are independent experts in criminal law and international law, elected by the governments of the more than 120 States Parties to the ICC. An accused person is entitled to be defended by a lawyer of his choice before the ICC and to have all the fair trial rights recognized by international law. All accused persons are presumed innocent. They cannot be convicted unless they are proved guilty beyond a reasonable doubt. If convicted, the accused has the right to appeal to a panel of five ICC appeals judges.

Question: Does the Thai Government require royal or parliamentary approval in order to make a Declaration accepting ICC jurisdiction over the alleged crimes against humanity in 2010?

Answer: No. Under Section 190 of the 2007 Thai Constitution, royal approval is required for all treaties, and parliamentary approval is required for certain treaties. However, a Declaration by the Thai Government, accepting ICC jurisdiction on an ad hoc basis under Article 12.3 of the Rome Statute, is not a treaty. By definition, a treaty involves a bilateral or multilateral agreement between Thailand and another party or parties. A treaty becomes legally effective only after at least two parties agree to accept it as legally binding.

In contrast, a Declaration under Article 12.3 is a unilateral act by Thailand. The Declaration is legally effective as soon as Thailand deposits it with the ICC. No agreement by the ICC is needed to make it legally effective. The Declaration is not an agreement, but a sovereign act by Thailand. Because it is not a treaty, it is not subject to Section 190 of the 2007 Thai Constitution, and does not require royal or parliamentary approval.

Question: Would a Declaration under Article 12.3 require any changes to Thai law?

Answer: Not at this stage, and perhaps never. The Government can make an Article 12.3 Declaration with no new legislation. If the ICC Prosecutor decides to open a Preliminary Examination, as we believe she will, no new legislation would be required at that stage. Only if a full ICC investigation is eventually opened – at least months and possibly years from now – might amendments to current Thai law be required.

Question: Could ICC jurisdiction pose any risk to the King?

Answer: No. There is absolutely no prospect of any ICC proceeding against the King.

http://robertamsterdam.com/thailand/2012/11/01/understanding-the-icc-application-faq/

^
^
^
โรเบิร์ต อธิบายภาษากฎหมาย ที่เข้าใจได้ง่ายดีครับ ไม่เหมือนนักกฎหมายไทยหลายๆ คน ที่ชอบอวดรู้พูดวกไปวนมา ตีความอยู่นั่นแหละ

noticeแจ้งลบความคิดเห็นนี้   บันทึกการเข้า
Guest
Hutjung
เรทกระทู้
« ตอบ #3 เมื่อ: 2 พ.ย. 12, 16:00 น »
ตอบโดยอ้างถึงข้อความ
 

q*062q*062
เท่าที่ผมทราบ นักกม.ในปท.ที่เจริญแล้ว โดยเฉพาะในปท.ที่เป็นศาลลูกขุน มักจะมีวิธีพูดที่เข้าใจง่าย รวบรัดและชัดเจนเสมอ
ต่างกับปท.ที่ยังด้อยพัฒนาและมี อม. ที่บางเรื่องเรียบง่ายชัดเจนเหลือเกิน แต่กลับต้องตีความกันยืดยาว
แต่กับบางเรื่อง,บางมาตรา(112)ที่กว้างขวางคลุมเคลือผิดธรรมชาติ กลับฉาดฉานชัดเจนและตัดสินทันทีอย่างรวดเร็วง่ายดาย รับลูกกันไปทั้งระบบ
ดูแล้วต.ล.กดีครับ q*015

noticeแจ้งลบความคิดเห็นนี้   บันทึกการเข้า
add
เรทกระทู้
« ตอบ #4 เมื่อ: 2 พ.ย. 12, 16:34 น »
ตอบโดยอ้างถึงข้อความ
 

"Question: Does the Thai Government require royal or parliamentary approval in order to make a Declaration accepting ICC jurisdiction over the alleged crimes against humanity in 2010?

Answer: No. Under Section 190 of the 2007 Thai Constitution, royal approval is required for all treaties, and parliamentary approval is required for certain treaties. However, a Declaration by the Thai Government, accepting ICC jurisdiction on an ad hoc basis under Article 12.3 of the Rome Statute, is not a treaty. By definition, a treaty involves a bilateral or multilateral agreement between Thailand and another party or parties. A treaty becomes legally effective only after at least two parties agree to accept it as legally binding."

ต้องรอดู วันที่ 5 พ.ย. ที่จะถึงนี้ครับ ว่า รมว.ต่างประเทศ จะตัดสินใจอย่างไร กับการยอมรับอำนาจ ICC ตามข้อ 12.3 ซึ่งโดยอำนาจแล้ว รมว. ต่างประเทศสามารถลงนามยอมรับได้เลย เพราะเป็นเฉพาะกรณีไม่มีผลผูกพันธุ์

แต่ช้าก่อนที่นี่ประเทศไทย ถ้าให้ผมเดานะ ผมว่า รมว.ต่างประเทศ ไม่กล้าลงนามยอมรับเขตอำนาจศาล เพราะกลัวองค์กรอิสระและศาลไทย ย้อนเกล็ดเล่นงาน หรือหากจะขอมติคณะ รมต. ก็ยิ่งแล้วใหญ่ เพราะนั่น รัฐบาล จะเหมือนหมูที่นอนอยู่บนเขียง

งานนี้อยู่ที่ความกล้าของ รมต.สุรพงษ์ ว่าจะกล้าแกร่ง กินดีหมี ดีเสือ มาไหม???

แต่ถ้าให้เดานะผมว่า "ไม่กล้า" เพราะนั่นจะกลายเป็นตำบลกระสุนตก เป็นเป้าให้ ฝ่ายแค้น, 40 สว.เจ้าเก่า และองค์กรไม่อิสระ(องค์กรตามสั่งได้) เล่นงาน มีหวังได้นอนคุกตอนแก่ ลองดูดิ ก็คนฟ้อง คนตัดสิน มาจากมดลูกเดียวกันแท้ๆ เอาผิดไม่ได้ก็บ้าแล้ว

noticeแจ้งลบความคิดเห็นนี้   บันทึกการเข้า
add
เรทกระทู้
« ตอบ #5 เมื่อ: 2 พ.ย. 12, 16:43 น »
ตอบโดยอ้างถึงข้อความ
 

นายสุรพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุล รองนายกรัฐมนตรีและรมว.ต่างประเทศ กล่าวถึงกรณีที่ตัวแทนศาลอาญาระหว่างประเทศ (ไอซีซี) เข้าพบเมื่อวันที่ 1 พ.ย.ที่ผ่านมาว่า

ตัวแทนไอซีซีได้มาอธิบายความว่า ถ้ารัฐบาลจะรับเขตอำนาจต้องทำอะไรบ้าง โดยตนเองต้องไปคุยกับกระทรวงยุติธรรมว่าเห็นชอบหรือไม่

ทั้งนี้ได้มอบหมายกรมสนธิสัญญาและกฎหมายได้ทำบันทึกสิ่งที่ไอซีซีได้หารือเอาไว้และไปสรุปถึงผลกระทบข้อดีและข้อเสียในการรับเขตอำนาจ และในวันจันทร์ที่ 5 พ.ย. จะแถลงเพื่อชี้แจงเรื่องดังกล่าวที่กระทรวงการต่างประเทศ

อย่างไรก็ตาม ส่วนตัวมองว่าน่าจะรับรองเพื่อให้พิจารณาเรื่องการสลายการชุมนุมกลุ่มเสื้อแดง 98 ศพได้

ซึ่งยืนยันว่าไม่ได้เป็นการนำองค์กรภายนอกมาแทรกแซงเรื่องภายในประเทศ และไม่น่าจะเป็นประเด็นร้อน เพราะเราให้ความเป็นธรรมกับผู้เสียชีวิต
โดยสมมติว่าเรารับเขตอำนาจของไอซีซี เขาก็จะมาทำการศึกษาเบื้องต้น ภายใต้ 4 เรื่อง ใหญ่ๆ คือ อาชญากรรมมนุษยชาติ อาชญากรรมสงคราม รุกราน และฆ่าล้างเผ่าพันธุ์

แต่หากเรื่องไหนอยู่ภายในการพิจารณาของศาลภายในประเทศแล้วเขาจะไม่ยุ่ง หรือถ้าศาลในประเทศตัดสินว่าจบก็คือจบ แต่ถ้ามีมูลว่าสิ่งที่อยู่ในศาลนั้นไม่ได้ให้ความเป็นธรรม หรือปล่อยปละละเลย เขาอาจเข้ามาได้ ส่วนการเอาผิดจะดำเนินการคนที่เกี่ยวข้องก็จะดำเนินการกับผู้ที่สั่งการเท่านั้น

ผู้สื่อข่าวถามว่า อาจจะมีการโยงถึงเรื่องปราบปรามยาเสพติดหรือไม่ รองนายกฯและรมว.ต่างประเทศ กล่าวว่า ไม่เกี่ยวกัน เป็นคนละเรื่อง เราจะมาโยงกันไม่ได้ เพราะสามารถระบุว่า จะเอาเหตุการณ์ไหน ช่วงไหน บอกชื่อเหตุการณ์เฉพาะกรุงเทพฯ ก็ได้ อย่างไรก็ตาม ยืนยันว่าเรื่องนี้ไม่มีการกดดันจากคนเสื้อแดง

เครดิต
http://bit.ly/TXF7iu

noticeแจ้งลบความคิดเห็นนี้   บันทึกการเข้า
add
เรทกระทู้
« ตอบ #6 เมื่อ: 2 พ.ย. 12, 16:55 น »
ตอบโดยอ้างถึงข้อความ
 
http://uddred.blogspot.com/2012/11/blog-post_8607.html

หนังสือตอบจาก ICC ท่านใดสนใจตามไปอ่านได้ครับ

"อ้างถึง OTP/THA/011112/PM-er
วันที่ 1 พฤษจิกายน 2555

เรียน ดร.เหวง

จดหมายฉบับนี้เขียนมาเพื่อตอบการซักถามข้อมูลที่ส่งถึง ท่านอัยการ เบนสุดา เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2555 เกี่ยวกับขั้นตอนการรับเขตอำนาจศาลอาญาระหว่างประเทศ (“ICC” หรือ “ศาล”) โดยประเทศที่ไม่ใช่สมาชิกสนธิสัญญากรุงโรม
ตามที่ท่านได้ทราบแล้วว่า ศาลไม่สามารถใช้เขตอำนาจเหนือดินแดนหรือประเทศที่ไม่ใช่สมาชิกสนธิสัญญากรุงโรมได้ นอกจากจะได้รับมอบหมายจาก คณะมนตรีความมั่นคงสหประชาชาติตามมาตรา 13 (b) ของสนธิสัญญากรุงโรม หรือ ประเทศนั้นๆจะรับเขตอำนาจของศาล โดยการประกาศ และบันทึกที่สำนักทะเบียน ตามมาตรา 12 (3) ของสนธิสัญญากรุงโรม
การประกาศดังกล่าวนั้นอาจจะเป็นรูปแบบของจดหมายจากรัฐบาลที่เกี่ยวข้องจ่าหน้าถึงนายทะเบียนของ ICC สำเนาถึงประธานของ ICC และอัยการ จดหมายนั้นควรระบุสถานการณ์ที่รัฐบาลจะรับเขตอำนาจศาลของ ICC ซึ่งควรเขียนให้เป็นรูปธรรมให้มากที่สุด แน่นอนศาลมีกฎว่า การกำหนดขอบเขตนั้นไม่สามารถ “ชี้ถึงฐานความผิดในสถานการณ์ได้ เพราะต้องมีการสอบสวนครอบคลุมในทุกประเภทของอาชญากรรมที่อาจเกี่ยวข้อง”
ตามที่กำหนดไว้ในกฎข้อ 44 ผลของการประกาศคือการยอมรับเขตอำนาจศาลในคดีอาชญากรรมตามมาตรา 5 ของสนธิสัญญา (ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ อาชญากรรมต่อมวลมนุษยชาติ และอาชญากรรมสงคราม) ซึ่งเกี่ยวข้องกับสถานการณ์ นอกจากนี้ประเทศผู้ประกาศยังต้องให้ความร่วมมือกับศาลตามส่วนที่ 9 ของสนธิสัญญากรุงโรมว่าด้วยเรื่องการร่วมมือระหว่างประเทศและการช่วยเหลือกระบวนการศาล ซึ่งบังคับใช้โดยอนุโลม เป็นความรับผิดชอบของประเทศที่เกี่ยวข้องที่จะต้องทำให้มีกฎหมายภายในประเทศที่กำหนดถึงความร่วมมือทุกประเภทซึ่งกำหนดไว้ในส่วนที่ 9 ของสนธิสัญญา ตามมาตรา 88 อย่างไรก็ดีเนื่องจากส่วนที่ 9 เกี่ยวข้องกับความร่วมมือภายใต้การสอบสวนและดำเนินคดี ไม่ใช่การตรวจสำนวนเบื้องต้น การกำหนดกระบวนการระดับประเทศหรือการออกกฎหมายจึงไม่จำเป็นในการยื่นหนังสือประกาศรับเขตอำนาจต่อศาล
ประเทศผู้ประกาศอาจประสงค์ที่จะเลือกที่จะส่งข้อมูลเอกสารสนับสนุนข้อกล่าวหาอาชญากรรมภายใต้ขอบเขตอำนาจศาล ข้อมูลเหล่านั้นที่ได้รับจะถูกส่งไปที่แผนกวิเคราะห์ของอัยการว่า มีข้อมูลมากเพียงพอหรือไม่ภายใต้มาตรา 15 ของสนธิสัญญา
โปรดเข้าใจว่า มาตรา 12 (3) เป็นการดำเนินการเพื่อให้ศาลมีขอบเขตอำนาจ ไม่ใช่เป็นกลไกเริ่มต้น ดังนั้น หากจะมีการเปิดการสอบสวนขึ้น จะต้องมีการดำเนินการด้านอื่น เช่น อัยการต้องใช้ดุลพินิจเองตามมาตรา 15
หลังจากที่ได้รับหนังสือประกาศ สำนักงานอัยการจะเริ่มการตรวจสำนวนเบื้องต้นเกี่ยวกับสถานการณ์ เพื่อพิจารณาว่า ข้อมูลที่มีจะมีเหตุผลเพียงพอที่จะดำเนินการสอบสวน ในกรณีนี้สำนักงานจะพิจารณา โดยอาศัยกฎเกณฑ์ในมาตรา 53 (1) (a)-(c) เพื่อดูว่า
(ก) ข้อมูลที่มีเพียงพอให้เชื่อว่ามีการก่ออาชญากรรมภายใต้ขอบเขตอำนาจศาลขึ้นแล้วจริง หรือ กำลังเกิดขึ้นอยู่
(ข) คดีจะสามารถยื่นต่อศาลได้ภายใต้มาตรา 17 และ
(ค) การสอบสวนจะไม่มีประโยชน์ต่อความยุติธรรม
หากท่านมีคำถามเกี่ยวกับกรณีนี้เพิ่มเติม กรุณาอย่ารีรอที่จะติดต่อ คุณ เอเมอริค โรเจียร์ หัวหน้าฝ่ายวิเคราะห์ ขอบเขตอำนาจ และความร่วมมือ ซึ่งติดต่อได้ที่ emeric.rogier@icc-cpi.int โทรศัพท์ +31 070 515 9080 (สำนักงาน) หรือ +316 46 44 87 91 (มือถือ)
ขอถือโอกาสนี้แสดงความขอบคุณในความสนใจของท่าน ในฐานะที่เป็นประเทศไม่เป็นภาคีสนธิสัญญา เกี่ยวกับกิจกรรมของศาลและสำนักงานอัยการ ขอได้โปรดรับการคารวะอย่างสูง"
noticeแจ้งลบความคิดเห็นนี้   บันทึกการเข้า
Guest
Hutjung
เรทกระทู้
« ตอบ #7 เมื่อ: 2 พ.ย. 12, 18:32 น »
ตอบโดยอ้างถึงข้อความ
 

เดาว่าไม่น่ากล้าเหมือนกันครับ
ความจริงก่อนวันที่5นี้ ผมว่า(ถ้าทำได้)คนเสื้อแดงน่าจะออกมาชุมนุมกดดันในเรื่องนี้(ซัก4-5หมื่นคน)
และก็อยากให้เป็นภาคีถาวรไปเลยครับ เรื่องยาเสพติด,ตากใบ ใครอยากยื่นเรื่อง ก็ทำไปได้เลย ความจริงก็คือจริง-ความเท็จก็คือเท็จ
v
v
v
เราแค่ต้องการศาลที่เป็นกลางโดยธรรมชาติเท่านั้น.
q*077

noticeแจ้งลบความคิดเห็นนี้   บันทึกการเข้า
Tags:  application 

หน้า: 1

 
ตอบ

ชื่อ:
 
แชร์ไป Facebook ด้วย
กระทู้:
ไอค่อนข้อความ:
ตัวหนาตัวเอียงตัวขีดเส้นใต้จัดย่อหน้าชิดซ้ายจัดย่อหน้ากึ่งกลางจัดย่อหน้าชิดขวา

 
 

[เพิ่มเติม]
แนบไฟล์: (แนบไฟล์เพิ่ม)
ไฟล์ที่อนุญาต: gif, jpg, jpeg
ขนาดไฟล์สูงสุดที่อนุญาต 20000000 KB : 4 ไฟล์ : ต่อความคิดเห็น
ติดตามกระทู้นี้ : ส่งไปที่อีเมลของสมาชิกสนุก
  ส่งไปที่
พิมพ์อักษรตามภาพ:
พิมพ์ตัวอักษรที่แสดงในรูปภาพ
 
:  
  • ข้อความของคุณอยู่ในกระทู้นี้
  • กระทู้ที่ถูกใส่กุญแจ
  • กระทู้ปกติ
  • กระทู้ติดหมุด
  • กระทู้น่าสนใจ (มีผู้ตอบมากกว่า 15 ครั้ง)
  • โพลล์
  • กระทู้น่าสนใจมาก (มีผู้ตอบมากกว่า 25 ครั้ง)
         
หากท่านพบเห็นการกระทำ หรือพฤติกรรมใด ๆ ที่ไม่เหมาะสม ซึ่งอาจก่อให้เกิดความเสื่อมเสียแก่สถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ รวมถึง การใช้ข้อความที่ไม่สุภาพ พฤติกรรมการหลอกลวง การเผยแพร่ภาพลามก อนาจาร หรือการกระทำใด ๆ ที่อาจก่อให้ผู้อื่น ได้รับความเสียหาย กรุณาแจ้งมาที่ แนะนำติชม